ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2024

สังฆทาน คือ อะไรและมีความหมาย รวมถึงมีกี่ประเภท

  สังฆทาน คือ อะไร ถ้าแปลตามคำศัพท์เป็นศัพท์ในพระสูตร เป็นชื่อเรียกการถวายทานแก่พระสงฆ์อย่างหนึ่ง ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่ามีอานิสงส์มาก ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ใน ทักขิณาวิภังคสูตร ว่าการถวายสังฆทานแก่คณะพระสงฆ์ มีอานิสงส์มากกว่าการถวายทานเฉพาะเจาะจงแก่พระพุทธเจ้า แม้ยังทรงพระชนม์อยู่ ถ้าแยกความหมายเเล้ว  สังฆะ แปลว่า กลุ่ม หรือหมู่  ส่วน ทาน แปลว่าการให้ รวมความหมายได้ว่า ทานที่ถวายให้แก่กลุ่มพระสงฆ์โดยไม่เจาะจงพระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่ง ผู้ทำบุญสามารถถวายอะไรก็ได้ที่เห็นว่าเหมาะสมกับการใช้ชีวิตของพระสงฆ์ สังฆทานมีกี่ประเภท การถวายโดยอุทิศให้แก่สงฆ์ โดยอุทิศให้เป็นเผดียงสงฆ์ (ไม่ระบุเฉพาะว่าจะถวายรูปไหน) เช่นการถวายสลากภัต แม้พระจะได้รับของที่ถวายแค่รูปเดียว แต่ถือได้ว่าพระสงฆ์ที่มารับถวายเป็นพระที่ได้รับมอบหมายจากสงฆ์ ก็นับเป็นสังฆทานเช่นกัน ให้ทานในสงฆ์ 2 ฝ่าย (ทั้งฝ่ายภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์) มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ให้ทานในสงฆ์ 2 ฝ่าย ในเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ให้ทานในภิกษุสงฆ์ ในเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ให้ทานในภิกษุณีสงฆ์ ในเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว เผดียงสงฆ์ว่า ขอได้โ

อิทธิบาท 4 คืออะไร หลักธรรมแห่งชีวิตประจำวัน

  หลักธรรมที่สำคัญสำหรับในชีวิตประจำวัน หรือ ผู้ที่มีความมุ่งมั่นปราถนาจะกระทำความเพียรใด ๆ ให้สำเร็จ นั้นคือ อิทธิบาท 4 สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งหลักธรรมนี้ มุ่งไปสู่ความเพียรทำสิ่งใดที่มุ่งมั่นปราถนาให้สำเร็จอย่างมีเหตุมีผล ด้วยปัญญา อิทธิบาท 4 คืออะไร ป็นหลักธรรมที่ประกอบด้วยหลักคุณธรรม 4 ประการ ได้แก่ ฉันทะ  หมายถึง ความรัก พอใจในสิ่งที่มีอยู่หรือสิ่งที่ทำ วิริยะ  หมายถึง ความพากเพียรและความขยันอย่างต่อเนื่อง จิตตะ  หมายถึง ความเอาใจใส่ มุ่งมั่น และรับผิดชอบสิ่งนั้นๆ วิมังสา  หมายถึง ความตระหนักไตร่ตรองถึงเหตุและผลด้วยปัญญา ขอบคุณเพจ  https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2723367   บทความแนะนำ โพชฌงค์ 7 ธรรมะแห่งการตรัสรู้คืออะไรและมีอะไรบ้าง บทความแนะนำ พละ 5 คืออะไร หลักธรรมกำจัดนิวรณ์ แห่งการรู้แจ้ง   อิทธิบาท 4 ใช้อย่างไร เมื่อเราตั้งใจที่จะปฏบัติธรรมในการนั่งสมาธิเพื่อต้องการให้จิตมีความสงบและต้องการเจริญวิปัสนากรรมฐาน เพื่อเข้าสู่ความสงบของจิต ฉันทะ  คือ ความพึ่งพอในใจสิ่งที่จะปฏิบัตินั้นมีจุดมุ่งหมายอันมีคุณธรรม มีความตั้งใจที่จะทำสมาธิให้แน่วแน่เพื่อเข้าถึงค